วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2558

โครงการจัดการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน (Spirit of ASEAN)

ความสอดคล้อง
** นโยบายรัฐบาล : ยุทธศาสตร์ที่ 1 ข้อ 1.5
** นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ : นโยบายเฉพาะข้อ 2
** นโยบาย สพฐ. : กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท
                                แผนงานการดำเนินการตามกรอบข้อตกลงประชาคมอาเซียน
                                จุดเน้นที่ 1 การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน






การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ASEAN Curriculum Sourcebook

5 Themes 4 Paths

กรอบเนื้อหา (Themes)
1.ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
2.การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย
3.การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น
4.การส่งเสริมความเสมอภาคและความยุติธรรม
5.การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน

ช่องทาง (Pathways)
1.ประชาชน
2.สถานที่
3.สื่อ
4.แนวคิด

##########################################################################

เรียนรู้ ASEAN จาก ... (สิ่งใกล้ตัว) [หน่วยการเรียนรู้]
1.บุคคลสำคัญ (ทุกสาขา)
2.อาหาร (สะท้อนวัตถุดิบ/ภูมิปัญญา/ภูมิศาสตร์/ประวัติศาสตร์/หน้าที่พลเมือง)
3.สื่อ / วัฒนธรรมประเพณี / มรดกโลก / ศาสนสถาน
4.แนวคิด / วิถีชีวิต / การละเล่นพื้นบ้าน / ธรรมเนียมปฏิบัติ
5.แม่น้ำโขง (วัฒนธรรมร่วมทางน้ำ) / วิถีทางน้ำ (เรือ)
6.ความทรวงจำร่วมกัน (สถานที่ / สงครามเวียดนาม / การรับรู้ประวัติศาสตร์ของแต่ละประเทศ)

***************************************************************************


*** หน่วยการเรียนรู้ มาจาก Pathways ***


****************************************************************************

ความรู้เรื่องอาเซียน : ช่วงชั้นที่ 2
สาขาวิชา
ผลการเรียนรู้
ประวัติศาสตร์และสังคมศึกษา 1.อาเซียนนำประเทศต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มารวมตัวกัน
2.ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เชื่อมต่อกันด้วยภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การค้า วัฒนธรรม มาช้านานก่อนที่จะก่อตั้งอาเซียน
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ การแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศสามารถนำไปสู่การค้นพบที่สำคัญ
หน้าที่พลเมืองและจริยศึกษา ประเทศสมาชิกอาเซียนปฏิบัติต่อกันอย่างเสมอภาค
ภาษาและวรรณกรรม 1.ประชาชนสามารถทำงานร่วมกันโดยข้ามพ้นอุปสรรคเรื่องภาษา
2.ประชาชนในอาเซียนแลกเปลี่ยนเรื่องราวขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างมากมาย
ศิลปะ เด็กๆ สามารถสื่อสารโดยใช้ศิลปะ
สุขศึกษาและพลศึกษา ประเทศสมาชิกอาเซียนมีสิ่งท้าทาย ด้านสุขอนามัยที่เหมือนกัน
เทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีช่วยให้อาเซียนติดต่อสื่อสารและร่วมมือกันทำงาน

ทักษะพื้นฐานที่สำคัญต่อความเป็นพลเมืองอาเซียน >> ทักษะในศตวรรษที่ 21 (21st century skills)





วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2558

ตัวอย่างผลงานนักเรียนเกี่ยวกับ ASEAN



ตัวอย่างผลงานนักเรียนรูปแบบต่างๆ จากโรงเรียนอนุบาลสมุทรสาคร






ประชุมปฏิบัติการพัฒนาการนำ ASEAN Curriculum Sourcebook สู่การปฏิบัติ

ศน.วราภรณ์ เนาวราช และคุณครู  2 ท่าน จากโรงเรียนไทรโยคใหญ่ เข้าร่วมประชุมปฏิบัติการพัฒนาการนำ ASEAN Curriculum Sourcebook สู่การปฏิบัติ ครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 7-9 เมษายน 2558 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ท จังหวัดปทุมธานี





กรอบเนื้อหา ASEAN Curriculum Sourcebook มี 5 กรอบเนื้อหา
1.ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
2.การเห็นคุณค่าของอัตลักษณ์และความหลากหลาย
3.การเชื่อมโยงโลกและท้องถิ่น
4.การส่งเสริมความเสมอภาคและความยุติธรรม
5.การทำงานร่วมกันเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน

4 ช่องทาง (4 Pathways and Essential Questions)
1.ประชาชน
2.สถานที่
3.สื่อ
4.แนวคิด

แนวทางการจัดการเรียนรู้เน้นไปที่ช่วงชั้นที่ 2 ขึ้นไป ส่วนช่วงชั้นที่ 1 อาจจะเสริมได้
มี 7 กลุ่มวิชา
1.ประวัติศาสตร์และสังคมศึกษา
2.วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
3.หน้าที่พลเมืองและจริยศึกษา
4.ภาษาและวรรณกรรม
5.ศิลปะ
6.สุขศึกษาและพลศึกษา
7.เทคโนโลยีการศึกษา

*********************************************************************************

Framework for 21st century learning
>> 21st century support system



PLC ต้องเกิดขึ้นภายในโรงเรียน


การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
** โลกของการทำงาน
** ทักษะ
** ปรับการเรียนการสอน

*** จูงใจ/ยอมรับ/เชื่อมั่น/สนับสนุน ***


*********************************************************************************



วันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ขอแสดงยินดีกับทีมพาทีสร้างสรรค์ ร.ร.วัดวังก์วิเวการาม

ขอแสดงความยินดีกับทีมพาทีสร้างสรรค์ โรงเรียนวัดวังก์วิเวการาม สพป.กาญจนบุรี เขต 3 และเป็นตัวแทนภาคกลางและภาคตะวันออก เข้าร่วมแข่งขันกิจกรรมพาทีสร้างสรรค์ ภายใต้โครงการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนและทักษะในศตวรรษที่ 21 (OBEC ASEAN Competition) ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1